สุขภาพ

ออกกำลังกายเป็นประจำ ทำให้สุขภาพเราแข็งแรง

วันอาทิตย์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2556

นอนกรน มหันตภัยใกล้ตัว

นอนกรน มหันตภัยใกล้ตัว

                       

 

“นอนกรน” มหันตภัยใกล้ตัว
ที่คนป่วยมักไม่รู้ตัว แต่คนรอบข้างร่วมห้องนอนต่างต้องทนรับฟังเสียงประสานยามค่ำคืน จนบางคนนอนไม่หรับใครจะรู้ว่าแค่นอนกรน จะมีอันตรายถึงขั้นเกิด”ภาวะหยุดหายใจขนะหลับ”จนกระทั่ง ”หยุดหายใจไปขนะตื่น”ด้วยก็ว่าใด้ เสียงกรนเกิดขึ้นจากเหตุและปัจจัยมากมายหลายอย่าง แต่สิ่งที่สำคัญและดูเป็นหัวหน้าแก๊งที่นำโรคอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นโรคความดันโลหิต เบาหวาน โรคหัวใจ และโรคนอนกรน คงหนีหัวหน้าแก๊งที่ชื่อ”โรคอ้วน”นั่นเอง ทำอย่างไรจึงจะสังเกตอาการนอนกรนได้ ภาวะหยุดหายใจขนะหรับ จะเกิดขึ้นกับเราหรือไม่ และจะมีการรักษาอย่างไร ต้องติดตาม…ร่วมห้องต่างต้องทนรับฟังเสียงประสานยามค่ำคืน จนบางคนนอนไม่หลับ
เสียงกรนมาจากไหน
เสียงกรนเกิดจากการที่อากาศเคลื่อนผ่าน ทางเดินหายที่แคบลง เช่น บริเวณที่มีเนื้อเยื่ออ่อนที่นุ่มหรือหย่อนเกินไปหรือบริเวณซึ่งไม่มอวัยวะ ส่วนแข็งค้ำยัน บริเวณเหล่านี้เองสามารถเกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ ได้ง่ายเช่นส่วนเพดานอ่อน ลิ้นไก่ โครนลิ้น กล้ามเนื้อและเยื่อบุของลำคอบริเวณที่แคบลงนี้ ทำให้เกิดการอุดกั้นบริเวณบางส่วนและเป็นต้นเหตุของเสียง ครอกฟี้ๆๆ ในยามค่ำคืน
อาการนอนกรน
อาการของโรคนอนกรนมี 2 ประเภท คือ
1.อาการนอนกรนธรรมดา ไม่อันตราย เพราะไม่มีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ แต่เป็นที่รำคาญของบุคคลรอบข้าง
2.อาการนอนกรนอันตรายที่มีภาวะหยุดหายใจ ร่วมด้วยส่งผลร้ายต่อสุขภาพ คือการหยุดหายใจขนะหลับ จะทำให้ผู้ป่วยนอนหลับไม่สนิด สะดุ้งตื่นเป็นช่วงๆ ทำให้นอนหลับไม่เต็มที่ ส่งผลต่อการเรียน การงาน ในช่วงกลางวันไม่เต็มที่ เนื่องจากมีอาการง่วงมากผิดปกติในเวลากลางวัน มีแนวโน้มเกิดอุบัติเหตุในท้องถนน หรือในโรงงานอุตสาหกรรมมากกว่าคนปกติ2-3เท่าเพราะหรับใน
โรคนอนกรน
สัมพันธ์โดยตรงกับการเกิดภาวะหยุดหายใจ ขนะหลับ(obstructive sieep Apnea:osa)ซึ่งมีความเสี่ยงสู้ต่อการเกิดโรคไหม่ๆมากมาย ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ,โรคความดันโลหิตในปอดสู้,โรคหลอดเลือดในสมอง อัมพฤกษ์,อัมพาต รวมถึงโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ท้ายสุดอาจถึงขั้นหยุดหายใจขนะหลับ จนร่างกายขาดอากาศหายใจ และเสียชีวิตในที่สุด!!!
รู้ได้อย่างไรว่า เป็นโรคนอนกรน
ทำได้โดยสอบถามประวัติจากคู่นอนว่า มีอาการนอนกรนหรือหายใจเสียงดัง มีช่วงหยุดหายใจหรือหายใจไม่สม่ำเสมอหรือไม่ บางครังอาจพบอาการสดุ้งตื่นหรือพริกตัวตอนนอน นอนกระสับกระส่ายเหงื่อออกผิดปกติขณะหลับ ในเด็กถ้ามีการอุดกั้นทางเดินหายใจมากจะทำให้เด็กนอนตะแครงหรือนอนคว่ำนอก จากนี้อาจพบ อาการปากแห้ง คอแห้งในตอนเช้า เพราะต้องหายใจทางปากทั้งคืน และเมื่อตี่นขึ้นก็รู้สึกว่านอนไม่เต็มอิ่ม เหมือนไม่ได้หลับทั้งคืน และอาการจะหนักขึ้นเรี่อยๆ ถ้าดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือทานยานอนหลับ
สัญญาณอันตราย
สะดุ้งตื่นกลางดึกเป็นต้นเหตุที่ทำให้ผู้ ป่วยมีอาการง่วงในเวลากลางวันมากกว่าปกติ เพราะการอุดกั้นทางเดินหายใจจะทำให้ร่างกายไม่ใด้พักผ่อนอย่างเต็มที่ คุณภาพชีวิตก็จะแย่ตามลงมาความผิดปกติของการหายใจขณะแบบอุดกั้น เริ่มตั้งแต่น้อยที่สุด คืออุดกั้นของทางเดินหายใจเพียงอย่างเดียวจะทำให้เกิดอาการนอนกรนอย่างเดียว หากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจมากจนเห็นได้ชัดเจน จนต้องสะดุ้งตื่นอยามหลับอยู่บ่อยครั้ง ในกลุ่มผู้ใหญ่จะหยุดหายใจอย่างน้อย 10 นาที ส่วนเด็กจะประมาณ 6 วินาที นั่นคือสัญญานอันตรายที่อาจทำให้เสียชีวิตได้ !!
อุบัติการณ์นอนกรน
ในต่างประเทศพบว่าร้อยละ 85 ของเพศชายช่วงอายุ 30- 35 ปี และร้อยละ 5 ของเพศหญิงในช่วงวัยเดียวกันมีอาการนอนกรนและมีแนวโน้มพบมากขึ้นเมื่ออายุ สูงขึ้น โดยเมื่ออายุ 60 ปี พบชายนอนกรนร้อยละ 60 และหญิงร้อยละ 40 ขณะที่ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ พบใด้ร้อยละ 4 ในชายและร้อยละ 2 ในหญิง“โดยจากการศึกษาพบว่าชายมีโอกาศเป็นมากกว่าหญิง7:1 แต่เมื่อหญิงถึงวัยหมดประจำเดือน ก็มีโอกาสเพิ่มขึ้นเนื่องจาก อาจเป็นไปได้ที่ฮอร์โมนมีผลต่อโรคนี้”เหตุเพราะชายมีฮอร์โมนส่งผลต่อโครงส้า งบริเวณศรีษะและลำคอของเพศชาย เนื้อเยื่อบริเวณคอหนาขึ้นทำให้มีช่องคอแคบกว่าผู้หญิง ส่วนฮอร์โมนเพศหญิงมีส่วนทำให้กล้ามเนื้อทำหน้าที่ขยายช่องทางเดินหายใจและ มีความตึงตัวมากกว่าชายที่สำคัญภาวะหยุดหายใจขณะหลับนี้มีอัตราผู้ป่วยเพิ่ม สู้ขึ้นกว่าเมื่อก่อนมากปัจจัยทางร่างกายเพื่อมเสียงกรน
ปัจจัยทางร่างกายที่มีผลต่อการนอนกรนมีดังนี้
1.ความตลึงตัวของกล้ามเนื้อเพดานอ่อน ลิ้น ลำคออ่อนตัว มักทำให้เกิดการนอนกรนในผู้ใหญ่
2.เพดานอ่อนและลิ้นไก่มีความผิดปกติ
3.ก้อนที่ขวางอยู่ในระบบทางเดินหายใจ เช่นต่อมทอนซิล ต่อมอดีนอยด์ที่โต เป็นสาเหตุอาการนอนกรนในเด็ก
4.การอุดกั้นของโพรงจมูก ทำให้เกิดความดันที่ป็นลมเพิ่มมากขึ้นละหว่างการหายใจเข้า วึ่งในบางคนที่ไม่เคยนอนกรน อาจพบเมื่อเป็นหวัด คัดจมูก หรือสัมผัสสารพูมแพ้ นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่นอีก เช่นความผิดปกติผนังกั้นช่องจมูก เยื่อบุจมูกบวม เนื้องอกในจมูกและโพรงอากาศข้างจมูก ริศศีดวงจมูกไซนัส อักเสบ ฯลฯ
โรคอ้วนนำพา(ต่อ)
วัดดรชณีมวลกายวิธีง่ายๆ คือชายไทยเส้นรอบเอวไม่ควรเกิน 90 เชนติเมตร หญิงไม่ควรเกิน 80 เชนติเมตรนอกจากนี้ กรรมพันธุ์ก็มีส่วนเสริมให้เกิดโรคนอนกรนด้วยเช่นกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในราย ที่ไม่อ้วน แต่มีภาวะหยุดหายใจร่วมด้วย จะถือว่ามีโอกาสเสี่ยงกว่าคนปกติ 1.5เท่า โรคนำพาความอ้วน(ต่อ) การดื่มสุรา สูบบุหรี่ หรือการรับประทานยาบางชนิด ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง รวมทั้งกล้ามเนื้อที่คอยพยุงช่องทางเดินหายใจให้เปิดหมดแรง ไปจนเกิดภาวะทางเดินหายใจอุดกั้นได้ง่ายขึ้นเมื่อมีภาวะการณ์ขาดออกชิเจนได้ ช้าซึ่งอาจเกิดผลเสียอย่างร้ายแรงต่อหัวใจและสมองได้ทั้งหมดล้วนเป็นปัจจัย เสริมทำให้หยุดหายใจได้ง่ายขึ้น
นอนกรน...รักษาใด้ วิธีรักษาผู้มีอาการนอนกรนหรืภาวะหยุดหายใจขนะหลับจำเป็นต้องใด้รับการวินิจฉัยและให้การรักษาที่เหมาะสม การรักษาแบ่งออกใด้ 3 วิธีคือ
1.การรักษาโดยการปรับเปรียนพฤติกรรมเป็น วิธีแรกที่แพทจะแนะนำให้ผู้ป่วย เริ่มจากลดน้หนักออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีลิตรกดประสาทส่วนกลาง อาทิเครื่องดื่มแอกอฮอล์ยานอนหลับฯลฯโดยถึงการปรับเปรียนท่านอนโดยไม่ควรนอน หงาย
2.การรักษาโดยการใช้เครื่องช่วยหายใจขนะ นอน เครื่องมือดังกล่าวจะช่วยให้ทางเดินหายใจโล่งขึ้นลดการอุดกั้นขนะนอนหลับ นอนกรน...รักษาได้ต่อ
3.การรักษาโดยวิธีผ่าตัด หากการเปรี่ยนพฤติการนอนดีขึ้นการผ่าตัดจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษา จุดประสงค์เพื่อเพิ่มขนาดของทางเดินหายใจส่วนบนเพื่อแก้ไขการอุดกั้นของทาง เดินหายใจ โดยแพทย์จะวินิจฉัยชนิดและตำแหน่งของการอุดกั้นทางเดินหายใจเพิ่อจะใดหาวิธี ที่เหมาะสมหายขาดไม่ใด้ถ้า...ไม่ตั้งใจ ผู้ป่วยที่นอนกรน และภาหยุดหายใจขนะนอนหลับอาจเกิดจากหลายสาเหตุและมีจุดอุดกั้นทางเดินหายใจ หลายตำแหน่งการผ่าตัดจึงเป็นวิธีที่แก้ไขเพรียงจุดเดียว อาจไม่ช่วยให้อาการดีขึ้นอาจต้องผ่าตัดซำเพื่อแก้ไขทางเดินหายใจที่แคบส่วน อื่นๆ เมื่อผ่าตัดเสร็จแล้วก็อาจมีโอกาสกลับมาเป็นไหม่ใด้
ผู้ป่วยจึงต้องดูแลตนเองต่อ”2”ดังนี้
1.ควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้เพิ่มเพราะความ อ่วนทำให้ไขมันไปสะสมอยู่ที่ผนังช่วงคอ ทำให้กับมาแคบไหม่ใด้ ทำให้อาการนอนกรนและภาวะหยุดหายใจขณะหลับกับมาเป็นเหมือนเดิมหายขาดไม่ใด้ ถ้า...ไม่ตั้งใจ(ต่อ)
2.ออกกำลังกายสมำเสมอเพื่อให้กล้ามเนื้อ บริเวณทางเดินหายใจส่วนบนตึงตัว กระชับและชะลอไม่ให้หย่อนยาน การออกกำลังกายแบบแอโลบิคโดยการเดินเร็วขี่จักยานยู่กับที่ การว่ายน้ำให้ได้ 40 นาที ร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาทิหมั่นเดินขึ้นลงบันไดแทนที่จะใช้ลิฟท์ มีผลทำให้รอบเอวลดลงรอบคอลดลงและหัวใจแข็งแรงขึ้น
เคดิตบทความ สสส.

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น